5 SIMPLE TECHNIQUES FOR วิกฤตคนจน

5 Simple Techniques For วิกฤตคนจน

5 Simple Techniques For วิกฤตคนจน

Blog Article

หลังจากมีข่าวออกมาว่ารัฐบาลจะปรับลดงบประมาณในนโยบายดิจิทัลด้วยการเจาะจงช่วยเหลือกลุ่มบุคคลยากจนหรือผู้ที่มีรายได้น้อยเท่านั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียงกันในไทยก็คือระดับรายได้ของคนที่เรียกได้ว่า ‘ยากจน’ ในไทยว่าต้องมีรายได้หรือใช้ชีวิตแบบไหนถึงเรียกได้ว่าเป็นคนจนที่ควรได้รับความช่วยเหลือ

ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้งานอยู่แล้วได้เลย

ในบทความนี้ บีบีซีไทยชวนสำรวจระบบสวัสดิการของรัฐและงานวิจัยที่บ่งชี้ว่า สวัสดิการที่ "ไม่ถ้วนหน้า" ทำให้เกิดปัญหาผู้ตกหล่น และไม่ได้รับสิทธิที่ควรได้รับอย่างไร

นอกจากนี้ ผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มเปราะบางยังต้องการระบบดูแลสุขภาพด้วย หากเกิดอาการเจ็บป่วยจากสภาพอากาศร้อนจัดขึ้นมา เนื่องจาก “ด้วยเงินที่เขามีจำกัด บางทีการเข้าถึงระบบการดูแลรักษาสำหรับคนกลุ่มนี้ก็ยังยากพอสมควร”



อย่างไรก็ตาม แม้มาตรการทางภาษีและนโยบายทางสังคมจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำ แต่ข้อมูลอีกชุดก็ได้บ่งชี้ว่า ระดับของความเหลื่อมล้ำก่อนที่จะมีการเก็บภาษีและมาตรการช่วยเหลือทางรายได้ยิ่งสูง ระดับของการช่วยเหลือทางสังคม (หรือเม็ดเงินสำหรับการจัดสวัสดิการ) ก็จะยิ่งต่ำตามไปด้วย ในขณะที่กลุ่มประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำก่อนการเก็บภาษีและมาตรการทางสังคมต่ำ ระดับของการช่วยเหลือทางสังคมก็จะยิ่งสูงตามขึ้นไปด้วย ข้อมูลชุดนี้ อาจจะบอกเราได้ว่าการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่ต้นก่อนที่จะมีมาตรการเหล่านี้ ยังคงเป็นเรื่องสำคัญต่อการลดความเหลื่อมล้ำ

รูปแบบถัดมา คือ “การออมแบบผ่อนส่ง” ผ่านนายทุนนอกระบบ สจวร์ต กล่าวโดยสรุปว่า ในสภาพแวดล้อมที่อุปสงค์ของบริการเงินออมมีสูงกว่าอุปทานมาก ไม่น่าแปลกใจที่เงินกู้สำหรับคนจนจะเป็นแค่อีกวิธีในการแปลงเงินออมให้เป็นเงินก้อน “เงินกู้นอกระบบ” แบบนี้ นายทุนจะเป็นคนตัดสินใจด้วยการกำหนดมูลค่าของเงินกู้ หรืออย่างน้อยก็กำหนดเป็นมูลค่าสูงสุด รวมถึงตารางการผ่อนส่งเพื่อชำระหนี้ นั่นหมายถึงนายทุนจะเป็นผู้ประเมินความสามารถในการออมของลูกค้า

ประเด็นวิจัย การพัฒนาเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การพัฒนา

เมื่อยาหลอนประสาทยุคโบราณ สอนบทเรียนให้การแพทย์ตะวันตกสมัยใหม่

แต่การจัดสรรสวัสดิการอย่างเหมาะสมได้ ภาครัฐต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และตรงกับความเป็นจริง ‘รศ.กนกวรรณ มะโนรมย์’ อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มองว่า สิ่งที่ต้องทำอย่างเร่งด่วน และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาความจนอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การทบทวนฐานข้อมูลภาครัฐเกี่ยวกับคนจน และผู้มีรายได้น้อย เพราะจากการลงพื้นที่ ‘คนจน’ ไม่ได้แบ่งแยกเพียงเส้นแบ่งความจน หรือรายได้ในแต่ละปี แต่ยังมีความสลับซับซ้อนมากกว่านั้น และไม่ควรใช้ข้อมูลการรับสวัสดิการที่ไร้ซึ่งการตรวจสอบความถูกต้อง อย่าง ‘บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ’ หรือ ‘บัตรคนจน’ เพราะหลายกรณีที่เกิดขึ้น คือ “คนจนจริงไม่ได้ คนที่ได้กลับไม่จน” เพราะคนจนจริง ๆ ไม่สามารถเข้าถึงการลงทะเบียนได้ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่แรก

ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าไทยร้องรัฐบาล ขอขยายเวลาผลิต-แก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนฉุดยอดขาย

สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ

วิกฤตศรีลังกาทำพ่อแม่ต้องเลือกจะให้ลูกคนไหนไปหรือหยุดเรียน

“มีกิน มีใช้ วิกฤตคนจน มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี” คำแถลงนโยบายของ แพทองธาร ที่ถูก สส.-สว. ย้อนตั้งคำถามกับรัฐบาล

Report this page